Saturday, March 28, 2009

บทที่๑๙ ประกอบลายฐาน


บทที่๑๙

ประกอบลายฐาน


  • การใช้ลายเข้าประกอบเป็นรูปจัดว่าสำคัญมาก เพราะการใช้ลายจะใช้ไปตามใจชอบไม่ได้ ต้องใช้ให้ถูกเรื่องของมัน ต้องรู้ว่าอะไรต่อกับอะไรได้ และอะไรติดกันไม่ได้ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรระวังให้มาก
  • ลายฐานหรือลายแท่นแบบหนึ่ง ประกอบด้วยลายหน้ากระดาน ลายบัวหงายบังคว่ำและลายท้องไม้
  • ลายฐานหรือลายแท่นแบบสอง ประกอบด้วยลายหมายเลข๑ ลายหน้ากระดานเลข ๒ คือเส้นลวดขึ้นระหว่างลายต่อลาย เลข๓ ลายบัวหงาย เลข๔ลายทองไม้ เลข๕ลายลูกแก้ว เลข๖ ลายบัวคว่ำ เลข๗ ลายหน้ากระดาน
  • จงสังเกตุลายแท่นทั้งสองนี้ มีอะไรต่างกัน และใช่อะไรที่ซ้ำกัน เช่น แบบหนึ่งมีท้องไม้อันเดียว แบสองมีท้องไม้ขนาบลูกแก้วทั้งข่างล่างและข้างบน เป็นที่สังเกตุว่าท้องไม้เมื่อเล็กลงมากก็มีแต่เส้นว่าง แต่เส้นว่างนั้นต้องใหญ่หรือเล็กกว้างกว่าเส้นกันลาย นี่เป็นวิธีหนึ่งของการใช้ลาย (ซึ่งจะให้เห็นวิธีเขียนบัวอีกหลายชนิด ประกอบอยู่ในรูปต่างๆ)
  • ที่มา http://www.skn.ac.th/skl/project1/sen49/ai19.htm

    0 comments: